บทความ (บันทึกจากการร่างฟอนต์ใหม่) จาก www. f0nt.com
ขอขอบคุณพี่แอนรวมทั้งเพื่อนๆในเวป ที่ติดตามอ่านและให้ความสนใจนะครับ
*บทความทั้งหมดคัดลอกมาจากกระทู้ขอขอบคุณพี่แอนรวมทั้งเพื่อนๆในเวป ที่ติดตามอ่านและให้ความสนใจนะครับ
http://www.f0nt.com/forum/index.php/topic,17354.0.html)
เนื่องด้วยงานที่หาเลี้ยงชีวิตที่ผ่านไปไม่นาน และฟอนต์ที่กําลังร่างใหม่
จึงทําให้กระบวนการต่างๆยังคงอยู่ครบและง่ายที่จะรวบรวมถือว่ามาเล่าสู่กันฟังละกันนะครับ หวังว่าน่าจะได้อะไรไม่มากก็น้อยนะครับ
จึงทําให้กระบวนการต่างๆยังคงอยู่ครบและง่ายที่จะรวบรวมถือว่ามาเล่าสู่กันฟังละกันนะครับ หวังว่าน่าจะได้อะไรไม่มากก็น้อยนะครับ
เริ่มแรกจากการทํางานประจัาแล้วเจอฟอนต์ที่น่าสนใจ เลยพยายามทําความเข้าใจถึงจุดที่น่าสนใจและวิธีการเขียนของเขา จากนั้นก็เริ่มร่างแบบของเราเองโดยตอนแรกผมใช้วิธีเอาจากของเขามาตัดแปะ
ในโปรแกรม illustratorเอาแบบบ้านๆเนี่ยแหละ จากนั้นก็เริ่มจดและร่างตัวอักษรคร่าวๆในกระดาษ
ดูว่าจะปรับแก้ตรงไหนบ้าง จะให้มีโครงสร้างอย่างไรบ้าง
ในโปรแกรม illustratorเอาแบบบ้านๆเนี่ยแหละ จากนั้นก็เริ่มจดและร่างตัวอักษรคร่าวๆในกระดาษ
ดูว่าจะปรับแก้ตรงไหนบ้าง จะให้มีโครงสร้างอย่างไรบ้าง
ต่อมาก็เริ่มปรับแต่งให้ฟอนต์เป็นไปตามแนวคิดที่วางไว้ จะเห็นได้ว่าตัวอักษรจะค่อยๆไปไกลจากฟอนต์ต้นแบบและสุดท้ายแทบจะไม่เหลือโครงสร้าง
ส่วนนี้สัาคัญที่การ print test นะครับขอยอมรับว่าผมเปลืองกระดาษมาก แต่อย่างไรก็ตามมันช่วยให้คุณเห็นถึงนํ้าหนักและภาพรวมของตัวอักษร
ได้ดีกว่าในจอแน่นอน(ถึงแม้ว่าจอเดี๋ยวนี้จะละเอียดมากแล้วก็ตาม)
ส่วนนี้สัาคัญที่การ print test นะครับขอยอมรับว่าผมเปลืองกระดาษมาก แต่อย่างไรก็ตามมันช่วยให้คุณเห็นถึงนํ้าหนักและภาพรวมของตัวอักษร
ได้ดีกว่าในจอแน่นอน(ถึงแม้ว่าจอเดี๋ยวนี้จะละเอียดมากแล้วก็ตาม)
หลังจากที่เราปรับแต่งจนพอใจแล้วก็ได้ฟอนต์ตามที่วางแนวคิดไว้ แต่แน่นอนว่ายังจะมีปัญหาต่างๆ
ตามมาให้แก้จากการทดลองพิมพ์จริง
ตามมาให้แก้จากการทดลองพิมพ์จริง
กรณีตัวอย่างการ refine ตัวหนังสือ
วงกลมสีแดงคือจุดหลักที่แก้ไขจากแบบร่าง โดยหลักๆแล้วการแก้ไขเพื่อให้ทั้งชุดมีความเข้ากันนั้นสําคัญมากสังเกตุได้จากตัวพ.พาน ที่ในแบบร่างจะมีส่วนของ serif ยื่นมาด้านหลัง สุดท้ายผมตัดสินใจตัดออกเนื่องจาก
เมื่อนํามาพิมพ์เป็นชุดแล้วพบว่าไม่เข้ากัน หรือกรณีของจ.จานที่สุดท้ายตัดสินใจเปลี่ยนวิธีการเขียนไปเลย
เมื่อนํามาพิมพ์เป็นชุดแล้วพบว่าไม่เข้ากัน หรือกรณีของจ.จานที่สุดท้ายตัดสินใจเปลี่ยนวิธีการเขียนไปเลย
จากนั้นเราพยายาม refine จุดเล็กๆเช่นหัวตัวอักษร, ส่วนหางตัวอักษร, ความโค้งมนต่างๆ ลองดูได้จากหาง
ของส.เสือ และ ม.ม้า(เพิ่มเติมขึ้นมาเพื่อความเข้ากันของชุด โดยปกติม.ม้าจะไม่มีส่วนนี้)
ของส.เสือ และ ม.ม้า(เพิ่มเติมขึ้นมาเพื่อความเข้ากันของชุด โดยปกติม.ม้าจะไม่มีส่วนนี้)
ตัวอย่างการ refine ส่วนหัวของตัว น.หนู นะครับ ผมพยายามใส่จริตของความเป็นหญิงเข้าไป
โดยลดให้เส้นบางลงกว่าส่วนอื่นและใส่โค้งเข้าไป อีกทั้งส่วนท้องของน.หนูผมทําการปรับโค้ง
ให้มีความบางสอดคล้องกับตัวหัวที่ปรับใหม่ด้วย
โดยลดให้เส้นบางลงกว่าส่วนอื่นและใส่โค้งเข้าไป อีกทั้งส่วนท้องของน.หนูผมทําการปรับโค้ง
ให้มีความบางสอดคล้องกับตัวหัวที่ปรับใหม่ด้วย
ตัวค.ควายเรื่องที่อยากจะพูดถึงคือความเข้ากันของชุดอักษรสังเกตุได้ว่าตัวจากแบบร่างอาจจะดู
มีความไหลลื่นของตัวอักษรบริเวณ serif ด้านหน้าและหัวอักษรมากกว่า แต่เอาเข้าจริงเวลานําไปพิมพ์
จะดูขัดตาเป็นอย่างมาก สุดท้ายเลยต้อง refine ให้เข้ากับตัวอื่นๆของชุดตัวอักษร (ความหนาบางของอักษร,
การจัดวาง serif, ลักษณะของหัวค.ควาย)
มีความไหลลื่นของตัวอักษรบริเวณ serif ด้านหน้าและหัวอักษรมากกว่า แต่เอาเข้าจริงเวลานําไปพิมพ์
จะดูขัดตาเป็นอย่างมาก สุดท้ายเลยต้อง refine ให้เข้ากับตัวอื่นๆของชุดตัวอักษร (ความหนาบางของอักษร,
การจัดวาง serif, ลักษณะของหัวค.ควาย)