หากเรานําเรขาคณิตมาคิดวิเคราะห์การสร้างก็จะเห็นได้ถึงระบบบางอย่างในตัวเรขาคณิต
และจุดนั้นเราสามารถมาเชื่อมโยงกับเรื่องของจินตนาการได้อย่างลงตัว เคยสงสัยไหมว่าทําไมเวลาคนเราสร้างรูปเรขาคณิต การลากเส้นจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งเราถึงเลือกที่จะลากเป็นเส้นตรงไปโดยที่ไม่โค้งหรือเปลี่ยนอะไรดู นั้นเป็นเพราะเรามีจิตนาการแบบวิสัยทัศน์ซึ่งอาจจะเกิดจากประสบการณ์และการเรียนรู้ของเรา
โดยผมจะไล่วิเคราะห์
จากรูปทรงที่มีความซับซ้อนจากน้อยไปมาก โดยรูปแรกที่เราจะมาดูกันก็คือ
รูปสามเหลี่ยม ถ้าเราลองสมมุติว่าจุด a คือ เรื่องเรื่องหนึ่ง จุด b คือเรื่องที่วิสัยทัศน์ของเราจะจินตนาการไปได้ถึงโดยเป็นเรื่องที่สามารถเชื่อมโยงกับจุด a ได้โดยทีไม่เกินจริง และจุด c ก็คือจุดที่จะสามารถเชื่อโยงกับจุด B โดยที่เป็นเรื่องที่ไม่เกินจริงเช่นกัน และจุด a ก็น่าจะเป็นเรื่องที่เชือมโยงมาจากจุด c จะเห็นได้ว่ามีความน่าจะเป็นในเรื่องของจินตนาการเกิดขึ้นในงานจะประสบการณ์และวิสัยทัศน์ของเรา
จุดที่น่าคิดอีกจุดก็คือกรณีที่ไม่สมเหตุสมผลของรูป3เหลี่ยมซึ่งก็คือ ไม่ว่ายังไงก็ตาม
มุม a ไม่สามารถจะเชื่อมโยงกับ ด้าน cb ได้
มุม b ไม่สามารถจะเชื่อมโยงกับ ด้าน ac ได้
มุม c ไม่สามารถจะเชื่อมโยงกับ ด้าน ab ได้
ก็จะเห็นได้ว่าแท้จริงแล้วเรื่องของวิสัยทัศน์เองก็มีข้อจํากัดบางประการอยู่
ผมจะลองยกตัวอย่างจะเห็นเห็นภาพกันง่ายๆ
เราแทน A ด้วย การจับมือ แทน B ด้วยการเมินหน้าหนี แทน C ด้วยการชกต่อย
ลองมาคิดดูว่าเส้น ab น่าจะเป็นเหตุการณ์อะไรที่วิสัยทัศน์เราบอกว่าเป็นใน
เชิงลบ ส่วน ac ก้น่าจะเป็นในเชิงลบที่รุงแรงกว่า ส่วน ac อาจจะเป็นเรื่องของมิตรภาพ
ต่อมาเราลองมาดูที่สี่เหลี่ยม จริงๆแล้วมีความคล้ายคลึงกันมากแต่อาจจะมากกว่าเท่านั้นเอง
ดูตามภาพแล้วใช้หลักการจากสามเหลี่ยมก็น่าจะเข้าใจ
ส่วนวงกลมอันนี้ค่อนข้างจะแปลกกว่าเพื่อนหน่อย การเราตีเป็น 1องศาต่อหนึ่งเหตุการณ์
ก็จะมี 360 เหตุการณ์ในวงกลมที่เชื่อมโยงกันบางอย่างเลยทีเดียว
จุด a เป็นจุดเริ่มต้น และจะแตกเส้นเป็นรัศมีกระจายรอบวงกลมโดยจํานวนของเรื่องก็จะเปลี่ยนแปลงตามค่าขององศาของมุมในวงกลม โดยมีเส้น c เป็นเส้นของจินตนาการแบบวิสัยทัศน์
และมี B เป็นเหตุการณ์ที่จะเชื่อมโยงกันในลักษณะของเส้นโค้ง ซึ่งก็น่าสนใจไปอีกแบบ
ตอนนี้คิดไว้แค่นี้ถ้าใครอยากจะแนะนําอะไรคอมเม้นต์ไว้จะเป็นพระคุณอย่างสูง
12/02/2550
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น